ผู้เขียน หัวข้อ: สุขภาพที่ดีกับการนั่งและจัดว่างอุปกรณ์ต่างๆ ในการทำงานให้ถูกวิธี  (อ่าน 3602 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ winai.d

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 5672
  • มิตรภาพคือการเริ่มต้น มาร่วมแชร์ความรู้กัน
    • ดูรายละเอียด
สุขภาพที่ดีกับการนั่งและจัดว่างอุปกรณ์ต่างๆ ในการทำงานให้ถูกวิธี
    หลังจากบทความเรื่อง "คำแนะนำการใช้สำหรับจอคอมพิวเตอร์เพื่อถนอมสายตา ฯลฯ" นั้นได้รับความนิยมอย่างมากจากท่านผู้อ่านมีเมล์มาสอบถามผมมากมายในเรื่องอื่นๆ ที่นอกเหนือจากเรื่องนี้ครับ ทำให้ผมต้องออกภาคต่อ ซึ่งคราวนี้เนื้อหานั้นต่อจากตอนที่แล้วซึ่งผมจะไม่กล่าวถึงตอนที่แล้วด้วย ไปอ่านกันเองนะครับ หุๆๆ แต่ผมต้องออกตัวไว้ก่อนนะครับว่าผมไม่ได้เป็นหมอ หรือนายแพทย์ ที่ชำนาญด้านนี้แต่อย่างใดครับ แต่ด้วยที่ค้นคว้าจากแหล่งต่างๆ และจากประสบการณ์ต่างๆ ที่ประสบพบกับตัวเองด้วย ซึ่งเอามาแบ่งปันกันครับ งั้นเรามาเข้าเรื่องกันเลยนะครับ
        ซึ่งถ้าพูดถึงเรื่องผลกระทบของการใช้คอมพิวเตอร์กับมนุษย์เราๆท่านๆแล้ว ในยุคที่เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทกับชีวิตมนุษย์มากขึ้น และการพัฒนาของคอมพิวเตอร์นั้น มีความรวดเร็วมาก และมีประสิทธิภาพเทียบเท่า หรือดีกว่าการทำงานของมนุษย์ ซึ่งเห็นได้ว่าในต่างประเทศใช้หุ่นยนต์มาทำงานแทนมนุษย์ ในอนาคตคาดว่ามนุษย์อาจตกงาน เพราะหุ่นยนต์ทำงานได้ดีกว่า ไม่มีเหนื่อย และไม่เสี่ยงอันตรายเหมือนกับการใช้มนุษย์ ถ้าแบ่งผลกระทบการใช้คอมพิวเตอร์กับมนุษย์ แต่จนแล้วจนรอดสิ่งต่างๆ เหล่านั้นก็ยังคงไม่สามารถทดแทนกับคนบางกลุ่มได้นั้นคือคนที่ทำงานสั่งการมันนั้นเอง หรือเหล่าคนที่ต้องควบคุมดูแล และจัดการระบบ รวมถึงนักโปรแกรมเมอร์อย่างผม และเพื่อนๆ พี่ๆ หลายๆ คน ซึ่งผมกระทบทางด้านสุขภาพนั้นอาจจะไม่ได้มาในทันทีทันใด แต่จะสะสมรอวันที่มันจะแสดงตัวมันในอนาคต
" ความรู้มีไว้เผยแพร่ ให้กับผู้อื่น  เพื่อให้เกิดการแบ่งปันซึ่งกันและกัน และเป็นประโยชน์กับทุกคน
     ความรู้นั้นสำคัญ ที่สิ่งที่สำคัญยิ่งกว่า คือ การนำความรู้มาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น

    รับอบรม เผยแพร่ความรู้.,ด้านการสร้างจิตสำนึก ...ความตระหนัก...ด้านความปลอดภัย
       JSA ,KYT ,BBS และ  5 ส เพื่อเพิ่มผลผลิต และเทคนิคทำมาตรฐาน 5 ส
                  " อุบัติเหตุ  เป็น  ศูนย์ "
ID:win1791  มือถือ 085 5101 555

ออฟไลน์ winai.d

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 5672
  • มิตรภาพคือการเริ่มต้น มาร่วมแชร์ความรู้กัน
    • ดูรายละเอียด
การปรับที่นั่งและโต๊ะที่ถูกสุขลักษณะในการทำงาน ควรเป็นโต๊ะเขียนหนังสือธรรมดา แล้ววางคีย์บอร์ด หรือโต๊ะที่มีลิ้นชักคีย์บอร์ดก็ได้ครับ แต่ ควรเลือกที่เหมาะสมกับร่างกายของเราครับ ที่สำเร็จรูปนั้น ไม่ดีเท่าที่ควรเพราะเค้าออกแบบมาไม่ดีเท่าที่ควรครับ และยิ่งด้วยที่วางเมาส์ไว้คนละระดับกับคีย์บอร์ดแล้ว ถือว่าเป็นโต๊ะที่แย่มากและทำให้ข้อมือของท่านปวดและเสียหายได้อย่างร้ายกาจ และอาจเกิดอาการเส้นเอ็นอักเสบจนถึงขั้น ต้องผ่าตัด ได้ครับ อย่างภาพที่ 1 ผมให้ดูนั้นระดับของเก้าอี้และที่พิงควรจะรับกับหลังของเรา และสามารถปรับระดับได้ตามความต้องการของเราในยามต่างๆ ได้ดีครับ เพื่อที่ช่วยให้เราทำงานได้ดีและทำให้หลังไม่คดหรืองอ และขาควรนั่งตั้งฉากกับพื้น ดังภาพที่ 2 และระยะตักควรอยู่ด้านล่างของคีย์บอร์ดด้วยครับ ส่วนภาพที่ 3 นั้นคือการจัดวางคีย์บอร์ด และเมาส์ ครับ ควรจัดวางคีย์บอร์ด ซึ่งส่วนที่พิมพ์นั้นควรไว้ตรงกลางของจดภาพเลยครับ และถัดมาด้วยแป้นตัวเลข และเมาส์ครับเพราะว่าทำให้เราไม่ต้องเอียงข้อมือหรือปิดข้อมือมากครับ ซึ่งการวางเมาส์นั้น อย่างที่บอกไปตั้งแต่ต้นครับว่าการจัดวางเมาส์ควรวางในระดับเดียวกัน ซึ่งโต๊ะคอมฯ หลายๆที่นั้นทำออกมาได้แย่มากๆ ในเรื่องนี้และสำนักงานก็ชอบเอามาใช้ครับ เพราะว่าเล็กและประหยักเนื้อที่แต่เป็นการซื้อที่ผิด และทำให้เกิดผลเสียต่อพนักงานอย่างร้ายแรงครับ คุณจะไม่เห็นสิ่งเหล่านี้กับสำนักงานทางด้านไอทีระดับโลกเลย อย่างเช่น Microsoft หรือ Apple ครับ หรือแม้กระทั้งในประเทศไทยหลายๆ บริษัทก็ลงทุนทำทางด้านนี้นับล้านบาทเพื่อพนักงงานครับ เพราะทำให้พนักงานทำงานได้มาก และทำให้งานออกมามีประสิทธิภาพมากกว่าอีกด้วยครับ อย่างที่หลายคนบอกว่า "ร่างกายและสุขภาพดี สมองและความคิดมันก็แล่น" ผมว่าเป็นคำพูดที่ไม่ดูเกินเลยไปเลยจริงๆ ครับ ส่วนอุปกรณ์อื่นๆก็บางให้ให้สามารถหยิบจับได้ง่ายครับ
" ความรู้มีไว้เผยแพร่ ให้กับผู้อื่น  เพื่อให้เกิดการแบ่งปันซึ่งกันและกัน และเป็นประโยชน์กับทุกคน
     ความรู้นั้นสำคัญ ที่สิ่งที่สำคัญยิ่งกว่า คือ การนำความรู้มาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น

    รับอบรม เผยแพร่ความรู้.,ด้านการสร้างจิตสำนึก ...ความตระหนัก...ด้านความปลอดภัย
       JSA ,KYT ,BBS และ  5 ส เพื่อเพิ่มผลผลิต และเทคนิคทำมาตรฐาน 5 ส
                  " อุบัติเหตุ  เป็น  ศูนย์ "
ID:win1791  มือถือ 085 5101 555

ออฟไลน์ winai.d

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 5672
  • มิตรภาพคือการเริ่มต้น มาร่วมแชร์ความรู้กัน
    • ดูรายละเอียด
ซึ่งอวัยวะของมนุษย์ สิ่งที่สำคัญในการใช้คอมพิวเตอร์ คือ ตา ครับ ซึ่งในเมื่อเราใช้คอมพิวเตอร์ไปนานๆ หรือเพ่งจอมากๆ นั้นจะทำให้รู้สึกว่าปวดตา อาจทำให้สายตามีปัญหาได้ถ้าเราไม่รู้จักที่จะดูแลและเข้าใจในการถนอมมัน เช่น สายตาสั้น ส่วนใหญ่ผู้ที่ทำงานหน้าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นประจำ หรือคนที่เล่นเกม ซึ่งเด็กนักเรียนนักศึกษาเล่นกันมาก บางครั้งการเล่นเกมคอมพิวเตอร์ ถ้าเล่นจนเกินขอบเขต เกินความพอดี อาจจะทำให้การมองเห็นของเค้านั้นด้อยลงครับ และอีกอย่างคือจากการที่หนังสือพิมพ์ลงข่าวว่ามีนักศึกษาเล่นเกมจนช็อตตายคาร้านอินเตอร์เน็ต การใช้คอมพิวเตอร์นานๆ นั้นซึ่งเกิดจากการที่เราไม่ได้ทำการพักผ่อนที่เพียงพอครับ ซึ่งเกิดจากการอ่อนล้าจากที่ต้องประสาทสัมผัสต่างๆ ซึ่งต้องตื่นตัวตลอดเวลาทำให้เกิดความเครียดในระดับภายในหรือสมองนั้นเอง ซึ่งเราจะรู้ได้ด้วยตัวเองว่าเมื่อไหร่ที่พักสายตา ตรงนี้อาจจะสังเกตจากตาของเราว่าเมื่อใช้ไปนานๆ จะเริ่มปวดตา หรือเริ่มที่จะมึนๆ หรือง่วงนอนแล้ว ซึ่งควรจะหยุด โดยละสายตามองทางอื่น หรือลุกขึ้นไปเพื่อผ่อนคลายก่อน และมองออกไปในที่ไกลๆ เพื่อให้สายตาได้ทำการปรับระยะการมองเห็นบางเพื่อไม่ให้เสื่อม แล้วจึงลงมานั่งทำงานต่อ อย่าฝืนมากเกินไปอาจจะเป็นผลเสียกับตัวเอง อาจจะมองเห็นเป็นภาพเบลอๆ แต่เป็นอาการชั้วคราว สาเหตุก็เกิดจากรังสีออกมาจากหน้าจอคอมพิวเตอร์ อาการที่เกิดขึ้นจากการมองจอภาพเป็นเวลานานๆ นี้เรียกว่า Computer Vision Syndrome (CVS) และอีกเรื่องที่ไม่มีใครนั้นสนใจคือการวางจอแสดงผลครับ ควรวางในระดับสายตาครับ ทำให้เราสามารถมองได้ไม่สบายตา ไม่ควรเงือยหน้ามองจอครับหรือก้มหน้ามองมากจนเกินไปครับ เพราะอาจจะทำให้กระดูกสันหลังส่วนบนบริเวณคอผิดรูปและทำให้ไปกดเส้นประสาททำให้เป็นอัมพาตได้ครับ เราควนใส่ใจในด้านนี้ให้มากครับ และควรใช้ Document Holder (ที่หนีบกระดาษด้วยข้างจอ) ช่วยในการพิมพ์งานต่างๆ ครับ เพื่อสะดวกในการพิมพ์งานและมองเอกสารครับ ดังภาพที่ 4
" ความรู้มีไว้เผยแพร่ ให้กับผู้อื่น  เพื่อให้เกิดการแบ่งปันซึ่งกันและกัน และเป็นประโยชน์กับทุกคน
     ความรู้นั้นสำคัญ ที่สิ่งที่สำคัญยิ่งกว่า คือ การนำความรู้มาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น

    รับอบรม เผยแพร่ความรู้.,ด้านการสร้างจิตสำนึก ...ความตระหนัก...ด้านความปลอดภัย
       JSA ,KYT ,BBS และ  5 ส เพื่อเพิ่มผลผลิต และเทคนิคทำมาตรฐาน 5 ส
                  " อุบัติเหตุ  เป็น  ศูนย์ "
ID:win1791  มือถือ 085 5101 555

ออฟไลน์ winai.d

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 5672
  • มิตรภาพคือการเริ่มต้น มาร่วมแชร์ความรู้กัน
    • ดูรายละเอียด
ซึ่งจากการเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงของสุขภาพ (Health Risks) รศ.นพ.กำจรตติยกวี ผู้อำนวยการศูนย์สารสนเทศทางการแพทย์เพื่อประชาชนจุฬาลงกรมหาวิทยาลัย กล่าวว่า "อาการที่เกิดจากการนั่งทำงานอยู่หน้าเครื่องนานๆ " ทางการแพทย์เรียกว่า Repetitive Strain Injury หรือ RSI อาการนี้จะเกิดขึ้นจากการที่คนเรานั่งทำงานหน้าเครื่องคอมพิวเตอร์แบบไม่ถูกสุขลักษณะ เช่น เอามือวางไว้บนคีย์บอร์ด ที่ไม่ถูกต้องปิดข้อมือมากเกินไป และ วางมือไม่ขนานกับในระดับเส้นตรงขนานกับพื้นปกติ แต่เรากลับวางมือแบบคดงอ และไม่มีที่พิงซึ่งตามที่ถูกต้องแล้วที่เก้าอี้นั่งควรมีที่ช่วยพยุงมือ เพื่อให้ขนานกับพื้นและตั้งฉากกับร่างกายครับ เพื่อให้เกิดความสบายใจการทำงานให้มากขึ้นด้วย รวมถึงระยะเวลาที่ควรจะพิมพ์งานและทำงานบนคีย์บอร์ดควรอยู่ที่ 20 – 30 นาที แล้วทำการพักข้อมือเพื่อป้องกันปัญหาดังกล่าวด้วย ดังภาพที่ 5
" ความรู้มีไว้เผยแพร่ ให้กับผู้อื่น  เพื่อให้เกิดการแบ่งปันซึ่งกันและกัน และเป็นประโยชน์กับทุกคน
     ความรู้นั้นสำคัญ ที่สิ่งที่สำคัญยิ่งกว่า คือ การนำความรู้มาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น

    รับอบรม เผยแพร่ความรู้.,ด้านการสร้างจิตสำนึก ...ความตระหนัก...ด้านความปลอดภัย
       JSA ,KYT ,BBS และ  5 ส เพื่อเพิ่มผลผลิต และเทคนิคทำมาตรฐาน 5 ส
                  " อุบัติเหตุ  เป็น  ศูนย์ "
ID:win1791  มือถือ 085 5101 555

ออฟไลน์ winai.d

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 5672
  • มิตรภาพคือการเริ่มต้น มาร่วมแชร์ความรู้กัน
    • ดูรายละเอียด
สรุปได้ว่า RSI นั้น สามารถเกิดได้ทุกส่วนของร่างกาย ตั้งแต่แขน ข้อมือ ข้อนิ้ว แผ่นหลัง ต้นคอ หัวไหล่และสายตา หากปล่อยไว้นานๆ อาจต้องผ่าตัดเอ็น แม้ปัจจุบันมีบริษัทชั้นนำด้วย IT ต่างๆ นั้นจะได้พยายามผลิตเครื่องป้องกันอันตรายจากคอมพิวเตอร์ ที่มีผลต่อร่างกายมนุษย์มาแต่ก็มีราคาที่แพงกว่าสินค้าที่ไม่คำนึงถึง ทางด้านนี้มากพอสมควรเลยทีเดียว และทางแก้ในเรื่องนี้นั้นก็ใช้ค่าใช้จ่ายมากอีกด้วย เช่น ใช้เมาส์มีขนานเหมาะสมกับมือของตัวเอง ไม่เล็กหรือใหญ่จนเกินไป และก่อนที่จะซื้อโต๊ะคอมพิวเตอร์นั้นควรออกแบบ หรือวัดโต๊ะหรือออกแบบโต๊ะที่เหมาะสมกับตัวเองเพื่อวางคอมพิวเตอร์และเก้าอี้นั่งพิมพ์ให้เหมาะสมกับร่างกาย เราก่อนด้วย เพราะสิ่งเหล่านี้มีผลกับเราในอนาคต ถึงแม้ราคาจะแพงแต่สุขภาพของเราและสภาพร่างกายแล้วคุ้มมากเลย ซึ่งในเมืองไทยยังไม่มีใครเป็น RSI ถึงขั้นร้ายแรงมาก จนเกิดอาการเส้นเอ็นอักเสบจนถึงขั้น ต้องผ่าตัด แต่การผ่าตัดเส้นเอ็นที่พบบ่อยครั้งมากกว่านั้นส่วนใหญ่จะเกิดจากเรื่องของการเล่นกีฬามากกว่า สำหรับ RSI ที่เกิดในประเทศไทยยังไม่ถือว่าเป็นปัญหาใหญ่ แต่ในอนาคตอันใกล้นี้ไม่แน่ เพราะว่าอาการเหล่านี้เป็นอาการสะสม เหมือนโรคมะเร็ง หรือโรคทางเดิมหายใจต่างๆ ครับ

        ในอเมริกาอาการของโรค RSI เป็นอันดับหนึ่งในส่วนของโรคที่เกิดจากการทำงาน มีผู้ป่วยใหม่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี ประมาณ 300,000 คน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2546) อัตราการเจริญเติบโตเพิ่มสูงขึ้นในแต่ละปี ประมาณ 20% พนักงานต้องขาดงานโดยเฉลี่ย 30 วันทำงานต่อปี เพื่อรักษาโรคเหล่านี้ ครับ

        แม้ขณะนี้ RSI จะยังไม่ใช่ปัญหาของสังคมไทยในอนาคตคาดว่า คนไทยจะมีเปอร์เซ็นต์จากอาการเจ็บป่วยมากขึ้นอย่างแน่นอนในไม่ช้านี้ครับ ซึ่งสามารถจากปัญหาข้างต้นครับ


ขอบคุณรูปภาพจาก
http://www.microsoft.com/hardware/hcg/default.html
http://eeshop.unl.edu/rsi.html
อ้างอิงเนื้อหาบางส่วนจาก
http://eeshop.unl.edu/rsi.html
ข้อมูลเพิ่มเติมอีกมากมายที่นี่
http://www.bilbo.com/rsi.htm
" ความรู้มีไว้เผยแพร่ ให้กับผู้อื่น  เพื่อให้เกิดการแบ่งปันซึ่งกันและกัน และเป็นประโยชน์กับทุกคน
     ความรู้นั้นสำคัญ ที่สิ่งที่สำคัญยิ่งกว่า คือ การนำความรู้มาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น

    รับอบรม เผยแพร่ความรู้.,ด้านการสร้างจิตสำนึก ...ความตระหนัก...ด้านความปลอดภัย
       JSA ,KYT ,BBS และ  5 ส เพื่อเพิ่มผลผลิต และเทคนิคทำมาตรฐาน 5 ส
                  " อุบัติเหตุ  เป็น  ศูนย์ "
ID:win1791  มือถือ 085 5101 555

ออฟไลน์ winai.d

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 5672
  • มิตรภาพคือการเริ่มต้น มาร่วมแชร์ความรู้กัน
    • ดูรายละเอียด
การนั่งทำงานใน Office ที่ถูกวิธี ตามแบบ Ergonomics
 
 

1. นั่งให้หลังตรง(หลังชิดกับพนักพิงจะดีที่สุด)
2. แขนทั้งสองข้างควรชิดกับลำตัว
3. ยกจอแสดงผลให้อยู่ในระดับสายตา(ช่วยป้องกันการปวดต้นคอ)
4. หาแป้นคีย์บอร์ดมาใช้อีกต่างหาก(ให้มาอยู่ไกล้ตัว จะได้ไม่ต้องก้มหรือโน้มตัวให้ปวดเอว)
5. ฝ่าเท้าควรแนบพื้น

หากท่านต้องการอุปกรณ์เสริม ป้องกันการปวดหลัง ที่เรียกว่า ventilated Back Suport "แผ่นรองหลัง ป้องกันการปวดหลัง" ให้คลิกที่ลิ้งค์นี้ได้เลยครับ

ดูวิดีโอ Tips การใช้โน๊ตบุ๊ค ตามหลัก Ergonomics จาก youtube

http://www.youtube.com/watch?v=EJFmVsw73AY&NR=1
http://www.youtube.com/watch?v=iaoZco2F16s
http://www.youtube.com/watch?v=IweHuPfGP4A


การใช้ notebook บนพื้น
http://www.youtube.com/watch?v=dCTMWVS0pwA&feature=related


" ความรู้มีไว้เผยแพร่ ให้กับผู้อื่น  เพื่อให้เกิดการแบ่งปันซึ่งกันและกัน และเป็นประโยชน์กับทุกคน
     ความรู้นั้นสำคัญ ที่สิ่งที่สำคัญยิ่งกว่า คือ การนำความรู้มาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น

    รับอบรม เผยแพร่ความรู้.,ด้านการสร้างจิตสำนึก ...ความตระหนัก...ด้านความปลอดภัย
       JSA ,KYT ,BBS และ  5 ส เพื่อเพิ่มผลผลิต และเทคนิคทำมาตรฐาน 5 ส
                  " อุบัติเหตุ  เป็น  ศูนย์ "
ID:win1791  มือถือ 085 5101 555

ออฟไลน์ winai.d

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 5672
  • มิตรภาพคือการเริ่มต้น มาร่วมแชร์ความรู้กัน
    • ดูรายละเอียด
ท่าที่ถูกต้องในการนั่งทำงานหรือใช้คอมพิวเตอร์

การนั่งผิดท่าหรือนั่งเก้าอี้ที่ไม่ถูกต้อง อาจทำให้เกิดอาการปวดหลังปวดคอได้เช่นเดียวกัน ดร.เจฟฟรี ให้ข้อมูลว่า ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ทำให้โลกเราเปลี่ยนไปมาก พวกเราก็มีท่าทางที่แย่ลงในการนั่งทำงานหรือใช้คอมพิวเตอร์ที่มากเกินไป ทำให้รู้สึกอ่อนเพลียง่าย อ่อนล้า หมดแรง มีอาการชาบริเวณแขนและมือ ซึ่งจะส่งผลต่อเอ็นข้อมือด้วย ทำให้บางคนมีอาการปวดหัว ปวดต้นคอ และปวดหลัง ดังนั้น ดร.เจฟฟรี จึงแนะนำ

ท่าที่ถูกต้องในการนั่งทำงานหรือใช้คอมพิวเตอร์ คือ



1.ควรนั่งบนเก้าอี้ที่มีส่วนที่หนุน หรือรองรับกับกระดูกสันหลัง หรือมีพนักพิงข้างหลัง การนั่งพิมพ์งานหลังควรตรง ข้อศอกตั้งฉาก 90 องศา

2.ควรนั่งเก้าอี้ที่มีพนักพิง โดยมีความกว้างและลึกที่ทำให้ผู้นั่ง นั่งให้หลังชนเก้าอี้ได้ โดย ที่เท้าสัมผัสกับพื้น หากไม่สามารถนั่งเช่นนี้ได้ให้หาที่วางขาให้เข่าอยู่ในลักษณะเท่ากัน และวางเมาส์ไว้ใกล้ตัวเพื่อจะได้ไม่ต้องเอื้อมไปจับ พัก 1-2 นาที ทุกๆ 20-30 นาที ลุกขึ้นและผ่อนคลาย

3.พยายามนั่งให้หลังชิดพนักเก้าอี้ทุกครั้ง ไม่ควรนั่งจมลงไปในเก้าอี้ เพราะจะทำให้หลังงอ

4.หากต้องอ่านหนังสือ หรือเอกสาร และพบว่าเก้าอี้อยู่สูงกว่าวัตถุ ควรหาแฟ้มเอกสาร หรือกล่องมารองหนังสือเพื่อให้หนังสืออยู่ระดับเดียวกับสายตา เพราะถ้าหากอยู่ต่ำกว่าสายตาจะทำให้เวลาอ่านต้องมองขึ้นมองลง อาจทำให้เกิดอาการปวดที่คอและหลังท่อนบนได้

5.ไม่ควรนั่งเก้าอี้ที่มีพนักเก้าอี้ใหญ่มากเกินไป เพราะจะทำให้ ต้องเขยิบเข้าไปนั่งกลางเก้าอี้ ทำให้ขาไม่ได้รับน้ำหนัก อาจทำให้ปวดหลังได้
" ความรู้มีไว้เผยแพร่ ให้กับผู้อื่น  เพื่อให้เกิดการแบ่งปันซึ่งกันและกัน และเป็นประโยชน์กับทุกคน
     ความรู้นั้นสำคัญ ที่สิ่งที่สำคัญยิ่งกว่า คือ การนำความรู้มาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น

    รับอบรม เผยแพร่ความรู้.,ด้านการสร้างจิตสำนึก ...ความตระหนัก...ด้านความปลอดภัย
       JSA ,KYT ,BBS และ  5 ส เพื่อเพิ่มผลผลิต และเทคนิคทำมาตรฐาน 5 ส
                  " อุบัติเหตุ  เป็น  ศูนย์ "
ID:win1791  มือถือ 085 5101 555

ออฟไลน์ winai.d

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 5672
  • มิตรภาพคือการเริ่มต้น มาร่วมแชร์ความรู้กัน
    • ดูรายละเอียด
การนั่งอยู่ที่โต๊ะทำงานทั้งวี่ทั้งวัน แถมยังต้องนั่งจ้องหน้าจอมคอมพิวเตอร์ทั้งวันอีกนั้นถือเป็นวิถีชีวิตปกติที่เหล่าบรรดาหนุ่มสาวชาวออฟฟิศ
ต้องพบเจอกันอยู่ทุกวันอยู่แล้ว 
 
และจากพฤติกรรมนี้เอง อาจจะทำให้หลาย ๆ คนเกิดปัญหา "ปวดหลัง" ได้ยิ่งถ้าเป็นสาว ๆ ที่ชอบสวมใส่รองเท้าส้นสูงก็จะยิ่งมีโอกาสปวดหลังได้ง่ายมากกว่าหนุ่ม ๆ เข้าไปอีก ในขณะที่บางคนก็แปรสภาพจากชาวออฟฟิศธรรมดาเป็นมนุษย์บ้างาน แบบที่ว่าลมหายใจเข้า - ออกก็เป็นการเป็นงานไปเสียหมด ยิ่งแล้วใหญ่

เพราะนั่นเท่ากับว่าคุณเลือกที่จะใส่ใจงานมากกว่าตัวเอง บางคนยอมทำงานหามรุ่งหามค่ำ ทำให้ร่างกายอ่อนเพลียสะสม ดังนั้นจึงไม่แปลกหากคนในกลุ่มนี้จะมีปัญหา "ปวดหลังเรื้อรัง" มากกว่าหนุ่มสาวชาวออฟฟิศทั่ว ๆ ไป

ซึ่งอาการปวดหลังที่บรรดาหนุ่มสาวชาวออฟฟิศส่วนใหญ่มักจะเป็นกันนั้น นอกจากเป็นเพราะ "อุบัติเหตุ" แล้ว ต้นเหตุของโรคนี้กว่า 80 % มาจาก "การใช้ชีวิตประจำวัน" ทั่วไปซึ่งก็คือพฤติกรรมต่าง ๆ ในขณะทำงานนั่นเอง และต้นเหตุมักเกิดจาก "หมอนรองกระดูกสันหลังทับเส้นประสาท" ทำให้มีอาการปวดหลังส่วนล่าง ปวดตะโพก และลามปวดร้าวลงสู่ขา ซึ่งเกิดจากการอักเสบของเอ็นและกล้ามเนื้อ เพราะการจัดท่าทางร่างกายไม่ถูกต้อง เช่น นั่งหลังงอ เดินหลังโก่ง หรือยกของหนักเกินไป

วิธีการรักษาที่นิยมทำกันโดยทั่วไปในปัจจุบันมี 2 วิธี คือ การรักษาด้วยการให้ยาและกายภาพบำบัดแบบ Passive ช่วยลดอาการปวดได้ดี แต่ไม่ทำให้ร่างกายแข็งแรงขึ้นอย่างพอเพียงที่จะป้องกันอาการปวดซ้ำซากในอนาคตได้ ส่วนวิธีการรักษาแบบ Active Rehabilitation เป็นแนวทางใหม่ที่ได้รับความนิยมในต่างประเทศ เป็นที่ยอมรับกันว่าสามารถระงับปัญหาอาการปวดเรื้อรังได้ถาวร ดีกว่าการรักษาแบบเดิม ๆ

และการออกกำลังกายที่เน้นตรงกล้ามเนื้อในส่วนที่มีปัญหา โดยออกแบบโปรแกรมให้เข้ากับเฉพาะตัวบุคคล และมีผู้ดูแลควบคุมใกล้ชิดได้ผลดีกว่าการออกกำลังกายตามลำพังตัวคนเดียวอย่างชัดเจน

วิธีป้องกันที่ดีที่สุดคือต้องฟิต ต้องทำให้ร่างกายแข็งแรงด้วยการออกกำลังกายตามสมควรแก่สภาพร่างกาย ไม่หักโหมเกินตัว และดูแลเรื่องอาหารการกินเพื่อไม่ให้น้ำหนักมากเกินไป รวมถึงการเลิกสูบบุหรี่ด้วย

และที่สำคัญก็คือ หมั่นใส่ใจดูแลตัวเองดี ๆ เพื่อพบอาการผิดปกติก็ควรจะรีบไปพบแพทย์เพื่อตรวจรักษา เพราะหากคุณปล่อยเอาไว้จนเรื้อรัง อาการปวดหลังที่ว่าอาจจะกลายเป็นอัมพาตได้ในที่สุด


" ความรู้มีไว้เผยแพร่ ให้กับผู้อื่น  เพื่อให้เกิดการแบ่งปันซึ่งกันและกัน และเป็นประโยชน์กับทุกคน
     ความรู้นั้นสำคัญ ที่สิ่งที่สำคัญยิ่งกว่า คือ การนำความรู้มาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น

    รับอบรม เผยแพร่ความรู้.,ด้านการสร้างจิตสำนึก ...ความตระหนัก...ด้านความปลอดภัย
       JSA ,KYT ,BBS และ  5 ส เพื่อเพิ่มผลผลิต และเทคนิคทำมาตรฐาน 5 ส
                  " อุบัติเหตุ  เป็น  ศูนย์ "
ID:win1791  มือถือ 085 5101 555

ออฟไลน์ winai.d

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 5672
  • มิตรภาพคือการเริ่มต้น มาร่วมแชร์ความรู้กัน
    • ดูรายละเอียด
เข็มขัดพยุงหลัง(back support)ช่วยลดอาการปวดหลัง          - ป้องกันการบาดเจ็บที่ส่วนหลังในขณะยกของหนัก อาการปวดหลัง และช่วยพยุงกระดูกสันหลัง
        - ช่วยเสริมบุคคลิกโดยสามารถสวมทับเสื้อผ้า หรือสวมไว้ด้านใน ไม่อึดอัด เคลื่อนไหว ได้อิสระ ปรับความกระชับ ได้ตามความต้องการ
        - เหมาะสำหรับงานยกของหนัก,งานที่ต้องยืนหรือนั่งเป็นเวลานาน
        - ช่วยควบคุมแผ่นหลังให้อยู่ในท่าที่ถูกต้องไม่โค้งงอ
        - เหมาะสมกับบุคคลที่อยากมีบุคลิกภาพดี
" ความรู้มีไว้เผยแพร่ ให้กับผู้อื่น  เพื่อให้เกิดการแบ่งปันซึ่งกันและกัน และเป็นประโยชน์กับทุกคน
     ความรู้นั้นสำคัญ ที่สิ่งที่สำคัญยิ่งกว่า คือ การนำความรู้มาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น

    รับอบรม เผยแพร่ความรู้.,ด้านการสร้างจิตสำนึก ...ความตระหนัก...ด้านความปลอดภัย
       JSA ,KYT ,BBS และ  5 ส เพื่อเพิ่มผลผลิต และเทคนิคทำมาตรฐาน 5 ส
                  " อุบัติเหตุ  เป็น  ศูนย์ "
ID:win1791  มือถือ 085 5101 555

ออฟไลน์ winai.d

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 5672
  • มิตรภาพคือการเริ่มต้น มาร่วมแชร์ความรู้กัน
    • ดูรายละเอียด
นั่งทำงานกับคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้อง แสนง่าย แถมได้สุขภาพ

แหม่ๆ เศรษฐกิจแบบนี้ไม่ว่าใครก็ต้องแข่งกันทำงานเพื่อปากท้องกันล่ะนะ แต่ถึงกระนั้นก็อย่าหักโหมกันเกินไปเดี๋ยวจะหมดแรงทำกันไปก่อน ทีนี้หละแย่ของจริงล่ะครับท่าน อ่ะ!! เกรินกันพอประมาณมาเข้าเรื่องกันดีกว่า วันนี้ผมเอาเรื่องของการนั่งทำงานกับคอมพิวเตอร์ที่ถูกต้อง และดีต่อสุขภาพมาฝากครับ
เพราะการนั่งทำงานกับคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานๆนั้นเป็นสิ่งที่เลี่ยงแทบจะไม่ได้ สิ่งที่ตามมาไม่ใช่แค่งานที่เสร็จ (รึอา่จไม่เสร็จ) แต่สุขภาพร่างกายเราก็เสร็จ (เจ็บปวย) เหมือนกันครับ ดังนั้นเรามาศึกษาวิธีปฏิบัติในการนั่งทำงานบนโต๊ะคอมพิวเตอร์ที่ถูกต้อง แถมง่ายๆ กันดีกว่าครับ

จากสมาคมศัลยศาสตร์กระดูกอเมริกา ที่บอกถึงวิธีการช่วยลดอาการเจ็บปวดและไม่สบายเนื้อตัวจากการใช้คอมพิวเตอร์โดยบอกถึงการจัดท่านั่งมาเป็นลำดับตั้งแต่ศีรษะจดเท้ากันเลยทีเดียว อ่ะมาดูกันครับ

เริ่มจากต้องนั่งตัวตรง วางแนวให้หูทั้ง สองข้างขนานกับหัวไหล่และไหล่ทั้งสองข้างตั้งตรงขนานกับแนวสะโพกมาถึงช่วงแขนนั้นก็ให้ปล่อยต้นแขนตามสบายและให้ดึงมาแนบลำตัวเข้าไว้ ควรวางมือและข้อมือให้ยื่นตรงออกไปข้างหน้าตามแนวแขน สำหรับมือและนิ้วนั้น ก็ให้ปล่อยตามสบาย เมื่อพิมพ์หรือคลิกเมาส์หมั่นหาเวลาพักบ่อยๆ และยืดคลายมือ กับนิ้วเป็นระยะๆด้วย ผ่อนคลายๆ

ส่วนเรื่องสายตาก็สำคัญต้องพักสายตาด้วยการมองไปที่อื่นนอกจากหน้าจอคอมพิวเตอร์บ่อยๆ จะให้ดีต้องมองไปที่ที่มีสีเขียวจะสบายตาครับทั้งต้อง พยายามจัดตำแหน่งหน้าจอคอมพิวเตอร์ให้มีแสงสะท้อนให้น้อยที่สุดตำแหน่งของหน้าจอคอมพิวเตอร์ควรวางให้ห่างจากตัวเราประมาณ 1 ช่วงแขน และอยู่ในระดับพอดีกับสายตาเพื่อจะได้ไม่ต้องแหงนคอตั้งบ่า หรือก้มหน้าจนเกินไปเมื่อมองหน้าจอ. เท่านี้ก็ทำงานได้สบายแล้ว

ขอขอบคุณเนื้อหาข่าว คุณภาพดี โดย: หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ มา ณ ที่นี้ด้วยครับ (^_^)


อืม...จะว่าไปแล้ว ลำพังแค่เรานั่งทำงานอย่างถูกวิธีแล้วมันก็คงหนีไม่พ้นอาการปวดเมื่อย ปวดเกร็ง ไปได้หมดหรอกจริงไหมครับ เพราะเราเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องนั่งเป็นเวลานานๆ งั้น...เรามารู้จักการแก้อาการปวดเมื่อย แบบ ง่ายๆกันดีกว่า มีภาพประกอบด้วย เข้าใจ ง๊าย ง่าย ช้าอยู่ไย ลุยกันเล้ยยยยย

" ความรู้มีไว้เผยแพร่ ให้กับผู้อื่น  เพื่อให้เกิดการแบ่งปันซึ่งกันและกัน และเป็นประโยชน์กับทุกคน
     ความรู้นั้นสำคัญ ที่สิ่งที่สำคัญยิ่งกว่า คือ การนำความรู้มาแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น

    รับอบรม เผยแพร่ความรู้.,ด้านการสร้างจิตสำนึก ...ความตระหนัก...ด้านความปลอดภัย
       JSA ,KYT ,BBS และ  5 ส เพื่อเพิ่มผลผลิต และเทคนิคทำมาตรฐาน 5 ส
                  " อุบัติเหตุ  เป็น  ศูนย์ "
ID:win1791  มือถือ 085 5101 555

ออฟไลน์ sukanya Boonsak

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 103
    • ดูรายละเอียด

ออนไลน์ wyldin

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 261900
    • ดูรายละเอียด

ออนไลน์ wyldin

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 261900
    • ดูรายละเอียด
http://audiobookkeeper.ruhttp://cottagenet.ruhttp://eyesvision.ruhttp://eyesvisions.comhttp://factoringfee.ruhttp://filmzones.ruhttp://gadwall.ruhttp://gaffertape.ruhttp://gageboard.ruhttp://gagrule.ruhttp://gallduct.ruhttp://galvanometric.ruhttp://gangforeman.ruhttp://gangwayplatform.ruhttp://garbagechute.ruhttp://gardeningleave.ruhttp://gascautery.ruhttp://gashbucket.ruhttp://gasreturn.ruhttp://gatedsweep.ruhttp://gaugemodel.ruhttp://gaussianfilter.ruhttp://gearpitchdiameter.ru
http://geartreating.ruhttp://generalizedanalysis.ruhttp://generalprovisions.ruhttp://geophysicalprobe.ruhttp://geriatricnurse.ruhttp://getintoaflap.ruhttp://getthebounce.ruhttp://habeascorpus.ruhttp://habituate.ruhttp://hackedbolt.ruhttp://hackworker.ruhttp://hadronicannihilation.ruhttp://haemagglutinin.ruhttp://hailsquall.ruhttp://hairysphere.ruhttp://halforderfringe.ruhttp://halfsiblings.ruhttp://hallofresidence.ruhttp://haltstate.ruhttp://handcoding.ruhttp://handportedhead.ruhttp://handradar.ruhttp://handsfreetelephone.ru
http://hangonpart.ruhttp://haphazardwinding.ruhttp://hardalloyteeth.ruhttp://hardasiron.ruhttp://hardenedconcrete.ruhttp://harmonicinteraction.ruhttp://hartlaubgoose.ruhttp://hatchholddown.ruhttp://haveafinetime.ruhttp://hazardousatmosphere.ruhttp://headregulator.ruhttp://heartofgold.ruhttp://heatageingresistance.ruhttp://heatinggas.ruhttp://heavydutymetalcutting.ruhttp://jacketedwall.ruhttp://japanesecedar.ruhttp://jibtypecrane.ruhttp://jobabandonment.ruhttp://jobstress.ruhttp://jogformation.ruhttp://jointcapsule.ruhttp://jointsealingmaterial.ru
http://journallubricator.ruhttp://juicecatcher.ruhttp://junctionofchannels.ruhttp://justiciablehomicide.ruhttp://juxtapositiontwin.ruhttp://kaposidisease.ruhttp://keepagoodoffing.ruhttp://keepsmthinhand.ruhttp://kentishglory.ruhttp://kerbweight.ruhttp://kerrrotation.ruhttp://keymanassurance.ruhttp://keyserum.ruhttp://kickplate.ruhttp://killthefattedcalf.ruhttp://kilowattsecond.ruhttp://kingweakfish.ruhttp://kinozones.ruhttp://kleinbottle.ruhttp://kneejoint.ruhttp://knifesethouse.ruhttp://knockonatom.ruhttp://knowledgestate.ru
http://kondoferromagnet.ruhttp://labeledgraph.ruhttp://laborracket.ruhttp://labourearnings.ruhttp://labourleasing.ruhttp://laburnumtree.ruhttp://lacingcourse.ruhttp://lacrimalpoint.ruhttp://lactogenicfactor.ruhttp://lacunarycoefficient.ruhttp://ladletreatediron.ruhttp://laggingload.ruhttp://laissezaller.ruhttp://lambdatransition.ruhttp://laminatedmaterial.ruhttp://lammasshoot.ruhttp://lamphouse.ruhttp://lancecorporal.ruhttp://lancingdie.ruhttp://landingdoor.ruhttp://landmarksensor.ruhttp://landreform.ruhttp://landuseratio.ru
http://languagelaboratory.ruhttp://largeheart.ruhttp://lasercalibration.ruhttp://laserlens.ruhttp://laserpulse.ruhttp://laterevent.ruhttp://latrinesergeant.ruhttp://layabout.ruhttp://leadcoating.ruhttp://leadingfirm.ruhttp://learningcurve.ruhttp://leaveword.ruhttp://machinesensible.ruhttp://magneticequator.ruhttp://magnetotelluricfield.ruhttp://mailinghouse.ruhttp://majorconcern.ruhttp://mammasdarling.ruhttp://managerialstaff.ruhttp://manipulatinghand.ruhttp://manualchoke.ruhttp://medinfobooks.ruhttp://mp3lists.ru
http://nameresolution.ruhttp://naphtheneseries.ruhttp://narrowmouthed.ruhttp://nationalcensus.ruhttp://naturalfunctor.ruhttp://navelseed.ruhttp://neatplaster.ruhttp://necroticcaries.ruhttp://negativefibration.ruhttp://neighbouringrights.ruhttp://objectmodule.ruhttp://observationballoon.ruhttp://obstructivepatent.ruhttp://oceanmining.ruhttp://octupolephonon.ruhttp://offlinesystem.ruhttp://offsetholder.ruhttp://olibanumresinoid.ruhttp://onesticket.ruhttp://packedspheres.ruhttp://pagingterminal.ruhttp://palatinebones.ruhttp://palmberry.ru
http://papercoating.ruhttp://paraconvexgroup.ruhttp://parasolmonoplane.ruhttp://parkingbrake.ruhttp://partfamily.ruhttp://partialmajorant.ruhttp://quadrupleworm.ruhttp://qualitybooster.ruhttp://quasimoney.ruhttp://quenchedspark.ruhttp://quodrecuperet.ruhttp://rabbetledge.ruhttp://radialchaser.ruhttp://radiationestimator.ruhttp://railwaybridge.ruhttp://randomcoloration.ruhttp://rapidgrowth.ruhttp://rattlesnakemaster.ruhttp://reachthroughregion.ruhttp://readingmagnifier.ruhttp://rearchain.ruhttp://recessioncone.ruhttp://recordedassignment.ru
http://rectifiersubstation.ruhttp://redemptionvalue.ruhttp://reducingflange.ruhttp://referenceantigen.ruhttp://regeneratedprotein.ruhttp://reinvestmentplan.ruhttp://safedrilling.ruhttp://sagprofile.ruhttp://salestypelease.ruhttp://samplinginterval.ruhttp://satellitehydrology.ruhttp://scarcecommodity.ruhttp://scrapermat.ruhttp://screwingunit.ruhttp://seawaterpump.ruhttp://secondaryblock.ruhttp://secularclergy.ruhttp://seismicefficiency.ruhttp://selectivediffuser.ruhttp://semiasphalticflux.ruhttp://semifinishmachining.ruhttp://spicetrade.ruhttp://spysale.ru
http://stungun.ruhttp://tacticaldiameter.ruhttp://tailstockcenter.ruhttp://tamecurve.ruhttp://tapecorrection.ruhttp://tappingchuck.ruhttp://taskreasoning.ruhttp://technicalgrade.ruhttp://telangiectaticlipoma.ruhttp://telescopicdamper.ruhttp://temperateclimate.ruhttp://temperedmeasure.ruhttp://tenementbuilding.rutuchkashttp://ultramaficrock.ruhttp://ultraviolettesting.ru

ออนไลน์ wyldin

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 261900
    • ดูรายละเอียด